รถเทรนเลอร์รับจ้างกรุงเทพมหานคร0831514162
รถเทรนเลอร์หรือโลเบทรับจ้างนครกรุงเทพมหานคร
J&P หากท่านต้องการย้ายเครื่องจักรหรือ อุปกรณ์ จะชิ้นเล็ก ใหญ่
ขนาดไหน เรามีรถพร้อมบริการให้ท่านถึงที่ รถสามารถบรรทุกของได้ 30-33 ตัน หากสนใจ
สามารถโทรมาสอบถามเส้นทาง ราคาก่อนได้ ที่
0831514162 ตลอด 24 ชั่วโมง ไม่ว่าเส้นทางจะคดเคี้ยวยังไง ขึ้นเหนือ ลงใต้
เราพร้อมให้บริการท่านได้เสมอ กับพนักงานขับรถที่สุขภาพ ตรงต่อเวลา ราคาเป็นกันเอง
ใส่ใจถึงความปลอดภัย และชำนาญเส้นทางเป็นพิเศษ
รถเทรนเลอร์หรือโลเบทรับจ้างกรุงเทพมหานคร 0831514162
เราให้บริการให้เช่ารถทุกประเภทดังต่อไปนี้
· รถเทรลเลอร์รับจ้างจังหวัดกรุงเทพมหานคร
· รถ6ล้อรับจ้างจังหวัดกรุงเทพมหานคร
· รถปิคอัพรับจ้างจังหวัดกรุงเทพมหานคร
·
รถกระบะรับจ้างจังหวัดกรุงเทพมหานคร
·
รถกระบะตอนเดียวรับจ้างจังหวัดกรุงเทพมหานคร
·
รถกระบะตู้ทึบรับจ้างจังหวัดกรุงเทพมหานคร
·
รถกระบะเพลาลอยรับจ้างจังหวัดกรุงเทพมหานคร
·
รถกระบะคอกสูงรับจ้างจังหวัดกรุงเทพมหานคร
·
รถกระบะรั้วเหล็กรับจ้างจังหวัดกรุงเทพมหานคร
·
รถกระบะบรรทุกรับจ้างจังหวัดกรุงเทพมหานคร
·
รถสิบล้อรับจ้างจังหวัดกรุงเทพมหานคร
·
รถพ่วงรับจ้างจังหวัดกรุงเทพมหานคร
·
เครนรับจ้างจังหวัดกรุงเทพมหานคร
· เฮี๊ยบรับจ้างจังหวัดกรุงเทพมหานคร
หากท่านต้องการใช้บริการรถรับจ้างของทางเรา ไม่ว่าจะ เส้นทางหลักหรือทางสายรองและทางลัด
·
กรุงเทพมหานครเป็นจุดเริ่มต้นของถนนหลักของประเทศไทย
ได้แก่
• ถนนพหลโยธิน (ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1)
• ถนนสุขุมวิท (ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3)
• ถนนเพชรเกษม (ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4)
• ถนนพระรามที่ 2 (ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 35)
ทั้งนี้
มีทางหลวงสายหลักที่ไม่ได้เริ่มต้นจากกรุงเทพมหานคร เช่น ถนนมิตรภาพ
(ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2 ) ซึ่งเริ่มต้นที่จังหวัดสระบุรี
·
ในเขตกรุงเทพมหานครมีทางหลวงพิเศษ
3 สาย ได้แก่
1. ทางหลวงพิเศษหมายเลข
7 รวม 126 กิโลเมตร เปิดใช้บริการครั้งแรก 79 กิโลเมตร เมื่อวันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ.
2541
2. ทางหลวงพิเศษหมายเลข
9 (ถนนกาญจนาภิเษก) เปิดใช้บริการส่วนต่อขยายครั้งล่าสุด (ด้านใต้) วันที่ 15
พฤศจิกายน พ.ศ. 2550
3. ทางหลวงหมายเลข
338 (ถนนบรมราชชนนี)
ทางยกระดับ
1. ทางยกระดับอุตราภิมุข
มีระยะทางรวมประมาณ 28 กิโลเมตร
ซึ่งเป็นโครงการที่อยู่ในการบริหารจัดการโดยบริษัททางยกระดับดอนเมืองจำกัด (มหาชน)
ระยะทางประมาณ 22 กิโลเมตรจากดินแดงถึงอนุสรณ์สถานแห่งชาติ (ทางยกระดับดอนเมือง)
เปิดบริการเมื่อ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2537 และอยู่ในการบริหารจัดการโดยกรมทางหลวง
ระยะทางประมาณ 6 กิโลเมตร จากอนุสรณ์สถานแห่งชาติถึงรังสิต (ส่วนของกรมทางหลวง)
เปิดบริการเมื่อ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2541
2. ทางคู่ขนานลอยฟ้าพระบรมราชชนนี
จากทางแยกอรุณอมรินทร์ถึงทางแยกต่างระดับสิรินธรระยะทาง 4.50 กิโลเมตร
และจากทางแยกต่างระดับสิรินธรถึงจุดสิ้นสุดโครงการ
บริเวณเลยจุดข้ามทางแยกต่างระดับพุทธมณฑล สาย 2 ไปอีก 500 เมตร ระยะทาง 9.30
กิโลเมตร เปิดเมื่อวันที่ 21 เมษายนพ.ศ. 2541
ทางพิเศษดินแดง ช่วงทางขึ้น
กรุงเทพมหานครมีทางพิเศษ (ทางด่วน) ทั้งหมด 9
เส้นทาง ทางเชื่อมพิเศษทั้งหมด 2 เส้นทาง
แบ่งเป็นทางพิเศษของการทางพิเศษแห่งประเทศไทย 8 เส้นทาง ทางเชื่อมพิเศษของการทางพิเศษแห่งประเทศไทย 2
เส้นทาง และทางหลวงพิเศษของกรมทางหลวง 1 เส้นทาง เพื่อแก้ไขปัญหาการจราจรติดขัด
โดยประชาชนต้องชำระเงินเป็นกรณีพิเศษ
ทางพิเศษของการทางพิเศษแห่งประเทศไทย ได้แก่
• ทางพิเศษเฉลิมมหานคร (ระบบทางด่วนขั้นที่ 1) ระยะทางรวม 27.1 กิโลเมตร
ประกอบด้วย
• สายดินแดง-ท่าเรือ ระยะทาง 8.9 กิโลเมตร เปิดให้บริการ 29 ตุลาคม พ.ศ.
2524
• สายบางนา-ท่าเรือ ระยะทาง 7.9 กิโลเมตร เปิดให้บริการ 17 มกราคม พ.ศ. 2526
• สายดาวคะนอง-ท่าเรือ ระยะทาง 10.3 กิโลเมตร เปิดให้บริการ 5 ธันวาคม พ.ศ.
2530
• ทางพิเศษศรีรัช (ระบบทางด่วนขั้นที่ 2) ระยะทางรวม 28.4กิโลเมตร
เปิดให้บริการ 2 กันยายน พ.ศ. 2536
• ทางพิเศษฉลองรัช (ทางด่วนสายรามอินทรา-อาจณรงค์) ระยะทาง 18.7 กิโลเมตร
ทางพิเศษฉลองรัชได้เปิดให้บริการตลอดสาย เมื่อวันที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2539
• ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางด่วนสายบางนา-ชลบุรี) ระยะทาง 55 กิโลเมตร
เปิดให้บริการตลอดสายเมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2543
• ทางพิเศษอุดรรัถยา (ทางด่วนสายบางปะอิน-ปากเกร็ด) ระยะทางรวม 32 กิโลเมตร
ระยะที่ 1 ทาง 22 กิโลเมตร เปิดให้บริการ 2 ธันวาคม 2541 และระยะที่ 2 ระยะทาง 10
กิโลเมตร เปิดให้บริการ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2542
• ทางพิเศษสาย S1 ระยะทาง 4.7 กิโลเมตร
ก่อสร้างเป็นทางยกระดับ 6 ช่องจราจร เปิดให้บริการ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2548
• ทางพิเศษสายรามอินทรา-วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานคร ระยะทาง 9.5 กิโลเมตร
เปิดให้บริการเมื่อวันที่ 23 มีนาคม พ.ศ. 2552
• ทางพิเศษสายสายบางพลี-สุขสวัสดิ์ ก่อสร้างเป็นทางขนาด 6 ช่องจราจร ระยะทาง
22.5 กิโลเมตร เปิดให้บริการวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550
ทางเชื่อมพิเศษของการทางพิเศษแห่งประเทศไทย
ได้แก่
• ทางเชื่อมทางพิเศษ สายบางพลี-สุขสวัสดิ์ กับ ทางพิเศษบูรพาวิถี เปิดบริการ
31 ธันวาคม พ.ศ. 2552
• ทางเชื่อมต่อทางพิเศษสายบางพลี-สุขสวัสดิ์กับถนนวงแหวนอุตสาหรรม 2
กิโลเมตร เปิดใช้ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2554
หรือเส้นทางอื่นๆ เราก็สามารถให้บริการท่านได้
เราพร้อมให้บริการลูกค้าที่สนใจทุกท่านอยู่แล้ว หรือ ไม่ว่าจะเป็น สถานที่ที่สำคัญ หรือจะเป็น ห้างสรรพสินค้า ศูนย์การค้า ในทุกออำเภอของจังหวัดกรุงเทพมหานครหรือจังหวัดอื่นๆ
เราก็สามารถเข้าไปให้บริการท่านได้ถึงที่ อย่านิ่งนอนใจ อย่าลังเล
หากท่านต้องการหรือสนใจสามารถโทรเข้ามาตรวจเช็คราคากันก่อนฟรี ได้ตลอด 24 ชม
เว็บไซต์ที่เกี่ยวข้องhttp://peechpochelogistics.blogspot.com/
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น